|
|
|
|
|
 “พัฒนาบริการสาธารณะ นำพาคุณภาพชีวิตที่ดี เกษตรปลอดภัย ยึดมั่นธรรมาภิบาล” |
|
|
|
|
|
|
พัฒนาบริการสาธารณะ คือ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เช่น การคมนาคมการส่งเสริมการท่องเที่ยว การสาธารณูปโภค สาธารณูปการ เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด |
|
นำพาคุณภาพชีวิตที่ดี คือ ส่งเสริมเพื่อให้ประชาชนได้รับสิทธิประโยชน์อย่างเท่าเทียม เช่น สิทธิในการ เข้าถึงสวัสดิการต่างๆ การศึกษา การมีสุขภาพอนามัยที่ดี คุณภาพชีวิตที่ดี การส่งเสริมรายได้ เป็นต้น |
|
เกษตรปลอดภัย คือ การส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรปลอดภัย การส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนรักษาทรัพยากรธรรมชาติ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม |
|
ยึดมั่นธรรมาภิบาล คือ การบริหารจัดการงานด้านต่างๆ ขององค์การบริหารส่วนตำบลตามหลัก ธรรมาภิบาลกล่าวคือ หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม หลักความโปร่งใส่ หลักความมีส่วนร่วม หลักความ รับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า |
|
|
|
|
พันธกิจที่ 1 |
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให้ได้มาตรฐานและเพียงพอ กับความต้องการของประชาชนตามศักยภาพของ อบต.ควบคู่กับการวางผังเมืองที่ดี |
|
พันธกิจที่ 2 |
ส่งเสริมด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น และพัฒนาด้านการกีฬาและนันทนาการ |
|
พันธกิจที่ 3 |
สร้างเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็ง พัฒนาด้านอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง |
|
พันธกิจที่ 4 |
ส่งเสริมด้านการสาธารณสุข การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
|
พันธกิจที่ 5 |
ส่งเสริม บำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
|
พันธกิจที่ 6 |
พัฒนาองค์กรและสร้างระบบบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี |
|
|
|
|
ยุทธศาสตร์ที่ 1 |
การจัดวางผังเมืองและพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน |
|
|
|
มีการจัดโครงสร้างพื้นฐาน ระบบคมนาคม ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ที่ได้มาตรฐาน |
|
|
|
มีก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษา สาธารณูปโภค สาธารณูปการ |
|
|
|
มีจำนวนแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร และการอุปโภคบริโภค |
|
|
|
มีการส่งเสริมสนับสนุนการจัดทำผังเมือง |
|
|
|
ยุทธศาสตร์ที่ 2 |
การส่งเสริมการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น |
|
|
|
ร้อยละของเด็ก เยาวชน และประชาชนได้รับโอกาสในด้านการศึกษามีการเรียนรู้อย่างเท่าเทียมกัน |
|
|
|
ร้อยละของประชาชนที่มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น |
|
|
|
การส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ขนมธรรมเนียม ประเพณีของท้องถิ่น |
|
|
|
ยุทธศาสตร์ที่ 3 |
การส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงและพัฒนาเกษตรปลอดภัย |
|
|
|
ประชาชนมีรายได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่าคนละ 30,000 บาท/ปี |
|
|
|
ประชาชนมีแนวคิด มีความรู้ ดำรงตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง |
|
|
|
ประชาชนผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยเพิ่มขึ้น |
|
|
|
ยุทธศาสตร์ที่ 4 |
การส่งเสริมสุขภาพอนามัยคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมที่เข้มแข็ง |
|
|
|
ร้อยละของประชาชนในตำบลมีสุขภาพที่ดี |
|
|
|
ร้อยละของการจัดระบบสวัสดิการเพิ่มขึ้น |
|
|
|
การให้ความช่วยเหลือประชาชนอย่างรวดเร็วเมื่อเกิดเหตุสาธารณภัย |
|
|
|
ร้อยละของการปลอดยาเสพติดในชุมชนเพิ่มขึ้น |
|
|
|
ยุทธศาสตร์ที่ 5 |
การส่งเสริมพลังงานทดแทน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน |
|
|
|
ประชาชนมีจิตสำนึก และตระหนักในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม |
|
|
|
ร้อยละของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมภายในตำบลได้รับการดูแลจัดการ อนุรักษ์และฟื้นฟูเพิ่มขึ้น |
|
|
|
เพิ่มพื้นที่สีเขียว |
|
|
|
การบริหารจัดการขยะ และของเสียอันตราย ลดปริมาณขยะในชุมชน |
|
|
|
การประหยัดพลังงาน และการส่งเสริมพลังงานทดแทนจากธรรมชาติที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม |
|
|
|
ยุทธศาสตร์ที่ 6 |
การยกระดับคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวและส่งเสริมการท่องเที่ยว |
|
|
|
ร้อยละของกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว |
|
|
|
ส่งเสริมสนับสนุนงานประเพณีของจังหวัดเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยว |
|
|
|
ยุทธศาสตร์ที่ 7 |
การพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพ และธรรมำาภิบาล |
|
|
|
ระดับการมีส่วนรวมของประชาชน |
|
|
|
ร้อยละของการบริหารจัดการองค์กรตามหลักธรรมาภิบาล |
|
|
 |
|